หมวดสินค้า
ทั้งหมด (353)
01. เตียงผู้ป่วย (Hospital bed) (6)
02. รถเข็นผู้ป่วย (Wheel chair) (41)
03. เครื่องวัดความดัน (Blood pressure monitor) (21)
04. เครื่องดูดเสมหะ / น้ำมูก (Suction) (8)
05. เครื่องพ่นละอองยา (Nebulizer) (16)
06. เครื่องวัดน้ำตาล (Glucose monitor) (14)
07. เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen generator) (9)
08. เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode chair) / เก้าอี้อาบน้ำ (Bath bench) (18)
09. ที่นอนลม (Matress) (6)
10. รถเข็นช่วยเดิน (Rollator) (5)
11. ไม้เท้า / ไม้ค้ำ / วอคเกอร์ (Walker) (19)
12. เครื่องวัดปริมาณออกซิเจน (Oximeter) (8)
13. หูฟังหัวใจ (Stethoscope) (3)
14. อุปกรณ์ตรวจหู ตา คอ จมูก (Otoscope,Opthalmoloscope) (5)
15. เบาะหมอนสุขภาพ (Healthy pillow & Mattress) (4)
16. แผ่นลดไข้ / ปั๊มนม / ลูกยาง (1)
17. โต๊ะคร่อมเตียง (Overbed table) (8)
18. เครื่องชั่งน้ำหนัก (Weigher) (20)
19. จักรยานกายภาพ (2)
20. ชุดทำแผลและเฝือก (3)
21. ถุงน้ำร้อน / เครื่องประคบร้อนลดการปวด (Thermo pad) (7)
22. ปรอทวัดไข้ / วัดอุณหภูมิ (Thermometer) (10)
23. ผ้าพันแผล / ผ้าพันเคล็ด (0)
24. ผ้าอ้อมผู้ใหญ่และผู้ป่วย (Adult daipers) (3)
25. เข็มขัดพยุงหลัง (Back support) (2)
26. เครื่องนับก้าว (Pedometer/Step counter) (1)
27. อุปกรณ์สแตนเลส (Stainless instruments) (19)
28. เครื่องช่วยฟัง (Hearing aid) (2)
29. หม้อนึ่งฆ่าเชื้อ (Autocave) (2)
30. เครื่องวัดความจุปอด (Spirotest) (2)
31. โคมไฟส่องตรวจ/โคมไฟผ่าตัด (Examination lamp) (12)
32. อุปกรณ์ให้อาหารสุนัขแมว (Pet feeder) (7)
33. เครื่องช่วยฟังเสียงทารกในครรภ์ (Fetal dopler) (2)
34. เครื่องนวดอัตโนมัติ (Automatic Compressor Therapy) (6)
35. เก้าอี้นั่งเด็ก (Baby chair) (1)
Vitamins - Blackmore (11)
Vitamins - Mega (30)
Vitamins - Vistra (15)
Vitamins - เสริมสร้างกร้ามเนื้อ (0)
อื่นๆ (4)
เข้าสู่ระบบ
ตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้า
สินค้าขายดี
00541: เตียงมือหมุน 3 ไกร์ (Three function manual bed).html 00541: เตียงมือหมุน 3 ไกร์ (Three function manual bed) 0 บาท

00033: รถเข็นอัลลอยด์โซม่า รุ่น SM-150.3 F24.html 00033: รถเข็นอัลลอยด์โซม่า รุ่น SM-150.3 F24 0 บาท

00393: เครื่องพ่นละอองยา 408D.html 00393: เครื่องพ่นละอองยา 408D 1,700 บาท
รับข่าวสารทางอีเมล
Facebook
แท็ก
Excellenthealth fanpage
โรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome)
โดย : admin | เมื่อ : 2013-10-27 23:55 | เข้าชม : 2498

โรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) เป็น กลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนวัยทำงานออฟฟิศ ที่สภาพแวดล้อมในที่ทำงานไม่เหมาะ สม ไม่ว่าจะเป็นการนั่งทำงานตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย สิ่งเหล่า นี้ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และปวดเมื่อยตามอวัยวะ ต่างๆ อาทิ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ส่วนบางรายที่มีอาการของหมอน รองกระดูกเคลื่อนอยู่แล้ว หากทำงานในอริยาบทที่ผิดจะทำให้มีอาการรุนแรงมาก ขึ้น
          จากการสำรวจพนักงานออฟฟิศในประเทศฝั่งยุโรป พบว่า ส่วน ใหญ่ต้องปรึกษาแพทย์ด้วยอาการต่างๆ โดยอันดับหนึ่งคือ การปวดหลัง รองลงมามี อาการปวดบริเวณคอ/ไหล่ และปวดศีรษะตามลำดับ ซึ่งเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับ ภาวะออฟฟิศ ซินโดรม นอกจากนี้ ยังพบว่า กลุ่มคนทำงานอายุ ระหว่าง 16-24 ปี มีความเสี่ยงของการเกิดภาวะดังกล่าวสูงถึงร้อย ละ 55 เนื่องจากต้องทำงานหนัก ประกอบอิริยาบถในการทำงานไม่เหมาะสม ทั้งนั่ง หลังค่อม การทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ สูงกว่า 6 ชั่วโมงต่อวันโดยไม่ เปลี่ยนอิริยาบท นอกจากนี้ ปัญหาความเครียดก็ส่งผลต่อการเกิดภาวะนี้ ด้วย โดยพบสูงถึงร้อยละ 80 สำหรับประเทศไทยเคยสำรวจในคนทำงานที่สำนักพิมพ์ แห่งหนึ่งจำนวน 400 คนพบว่าร้อยละ 60 มีภาวะดังกล่าว 
       ปวดหลัง   ไม่ เพียงแต่อิริยาบถของคนทำงานที่ไม่เหมาะสม สภาพโต๊ะทำงานยังเป็นปัจจัยสำคัญ ด้วย ทั้งโต๊ะทำงานที่ไม่เป็นระเบียบไม่สะดวกต่อการหยิบสิ่งของ เก้าอี้ไม่ เหมาะสม ไม่มีพนักพิงที่รองรับหลังอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการกดแป้น คียบอร์ดที่ไม่มีตัวรองรับข้อมือ จะทำให้มีการกระดกข้อมือขึ้นลงซ้ำๆ ซึ่งจะ ส่งผลให้เกิดการอักเสบบริเวณเส้นเอ็น รวมทั้งเกิดภาวะพังผืดหนา ทำให้เกิด อาการชาบริเวณนิ้ว และข้อมือ   
การป้องกัน 
          ต้อง เริ่มจัดสภาพโต๊ะทำงานให้เป็นระเบียบ โดยให้ด้านขวาของโต๊ะปล่อยโล่งไม่มี สิ่งของมากีดขวาง เพื่อความสะดวกต่อการเคลื่อนไหวในการหยิบสิ่งของต่างๆส่วน สิ่งของต่างๆ บนโต๊ะทำงานควรวางด้านซ้ายแทนเพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อยและ หยิบจับได้สะดวกและควรเลือกโต๊ะทำงานที่มีระดับพอดีกับข้อศอก เพื่อให้สามา รถกดคียบอร์ดได้อย่างถนัดประกอบตัวแป้นคียบอร์ดควรมีที่รองรับข้อมือไม่ให้ เกิดการกระดกข้อมือซ้ำๆด้วยส่วนเก้าอี้ควรเป็นแบบปรับขึ้นลงได้ และควรมี พนักพิงที่สามารถรองรับศีรษะได้ด้วยนอกจากนี้ ควรเลือกจอคอมพิวเตอร์ แบบ LCD หรือจอแบน เนื่องจากการสำรวจพบว่าจอแบบ CRT ซึ่งเป็นจอลักษณะโค้งมน จะทำให้เกิดการเพ่งสายตาและปวดศีรษะมากกว่าการใช้จอแบบ LCD 
          พวก พนักงานรับโทรศัพท์ก็ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงเช่นกันเพราะต้องคอยรับหู โทรศัพท์ตลอดเวลา ควรหยุดพักบ้าง หรือหันมาใช้เฮดโฟนแทนสิ่งสำคัญคนทำงาน ต้องตระหนักถึงภัยจากภาวะนี้ด้วยการฝึกอิริยาบถการนั่งทำงานให้เหมาะสม เช่น เมื่อนั่งหลังค่อมต้องปรับท่านั่งใหม่ และควรพักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์หรือ เปลี่ยนอิริยาบถ ลุกออกไปเดินยืดเส้นยืดสายทุกๆ ครึ่งชั่วโมงรวมทั้งควรหัด ออกกำลังกายคลายเส้นบ้าง จะช่วยให้กล้ามเนื้อไม่ตึงจนเกินไป
          ปัญหาที่พบบ่อยในคนทำงานออฟฟิศ คือ ปัญหา ด้านสายตา อาทิ ตาแห้ง น้ำตาไหลระคายเคืองตา ตามัว ปรับภาพได้ช้าลงซึ่งเกิด จากการทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ ทำให้การกระพริบตาน้อยละหนังตา เปิดกว้างขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้ง ส่งผลให้น้ำตาระเหยมากจนกระทั่ง เกิดความระคายเคืองตาและตาแห้ง นอกจากนี้การเพ่งสายตาที่หน้าจอยังทำให้ ต้องกลอกตาไปมาตลอดเวลาส่งผลให้กล้ามเนื้อตาต้องทำงานมากขึ้น ทำให้ปวดตาใน ที่สุด ดังนั้นควรพักสายตาเป็นระยะ ทุก 20 นาที หลับตา ทุก 1 ชั่วโมง ลุก เดินเพื่อพักสายตาและควรจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ให้ต่ำกว่าระดับสายตา 15 องศา เพื่อช่วยลดอาการปวดตาและปวดคอ
          ควรปรับความส่ว่างของหน้าจอ คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมโดยปรับความสว่างให้มากประมาณสามเท่าจากความสว่างของ สภาพแวดล้อมและควรปรับสีของจอให้สบายตาเนื่องจากงานวิจัยพบว่าตัวอักษรสี เข้มบนพื้นจอสีอ่อนจะทำให้สบายตา อีกทั้งส่วนความเข้าใจที่ว่า รังสีจากจอ คอมพิวเตอร์หากได้รับเป็นเวลานานๆจะก่อให้เกิดอันตราย อา มะเร็ง ไม่เป็น ความจริงเนื่องจากปริมาณรังสีที่ออกมามีจำนวนน้อย เพียง 1 ใน 10 safety dose ซึ่งไม่เป็นอันตรายแต่อย่างใด
 
9 วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม 
          1. ถ้า เป็นไปได้ ควรเลือกที่นั่งติดริมหน้าต่าง เพื่อให้ได้แสงจากธรรมชาติบ้าง ดี กว่าต้องนั่งอยู่ใต้แสงจากหลอดไฟตลอดทั้งวัน
          2. ควรเปิดหน้าต่างออฟฟิศให้อากาศได้ระบาย อย่างน้อยในตอนเช้าที่อากาศยังไม่ร้อนมาก และตอนพักกลางวัน
          3. ควร ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊คทุกครั้งที่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อลดระยะเวลา ในการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เป็นโรคความดัน โลหิตสูง และความเครียด
          4. หาต้นไม้ในร่มมาปลูก เพื่อช่วยดูดซับสารพิษและเป็นที่พักสายตาอันอ่อนหล้าจากการต้องจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ
          5. ถ้า ออฟฟิศคุณมีขนาดเล็ก ลองลดการใช้งานเครื่องปรับอากาศลงบ้าง บางวันคุณอาจจะ เลือกใส่เสื้อผ้าที่มีลักษณะบางเบา แล้วใช้พัดลมมาเปิดแทน ก็จะรู้สึกเย็น สบายได้ และประหยัดไฟได้ด้วย
          6. ควรห้ามสูบบุหรี่ในที่ทำงานโดยเด็ดขาด 
          7.ควร ติดตั้งเครื่องฟอกอากาศ และจะดียิ่งขึ้นถ้ามีตู้ปลาขนาดใหญ่ๆ สักตู้ เพื่อ ช่วยคืนสมดุลความชื้นที่เสียไปกับเครื่องปรับอากา
          8.หมั่นทำความสะอาดโต๊ะทำงานของคุณเอง ด้วยแอลกอฮอล เพื่อฆ่าเชื้อโรค
          9. ถ้า คุณเป็นคนติดคอมพิวเตอร์หรือมีงานด่วนที่จะต้องสะสางชนิดที่ไม่สามารถหยุด พักได้ ก็พยายามเตือนตัวเองให้เงยหน้าขึ้นมองออกไปไกลๆ ทุกๆ 20 นาที เพื่อ บรรเทาความเหนื่อยล้าของสายตา

แสดงความคิดเห็น
ค้นหาบทความ
สินค้าแนะนำ
  • 00014 : Mega We care Hi-Green - 30 capsule 00014 : Mega We care Hi-Green - 30 capsule 500 400 บาท

  • 00358: เครื่องผลิตออกซิเจน KS-5 (5 ลิตร) 00358: เครื่องผลิตออกซิเจน KS-5 (5 ลิตร) 0 บาท

  • 00536: ชุดทำแผลสเตอไรล์ 00536: ชุดทำแผลสเตอไรล์ 22 บาท

  • 00648: เครื่องวัดความดัน ALPK2 (DM-3000), Japan 00648: เครื่องวัดความดัน ALPK2 (DM-3000), Japan 0 บาท

  • 00656: รถเข็นล้อใหญ่เบาะกว้าง KIMBER (WL-02) 00656: รถเข็นล้อใหญ่เบาะกว้าง KIMBER (WL-02) 7,300 6,500 บาท

  • 00032: รถเข็นอัลลอยด์โซม่า รุ่น ECON 800 00032: รถเข็นอัลลอยด์โซม่า รุ่น ECON 800 0 บาท

  • 00629: เครื่องวัดความจุปอด (Riester, Germany)) 00629: เครื่องวัดความจุปอด (Riester, Germany)) 9,500 8,800 บาท

  • 00659: เครื่องดูดเสมหะ แบบติดรถ (Portable suction unit, in car) 00659: เครื่องดูดเสมหะ แบบติดรถ (Portable suction unit, in car) 0 บาท

  • 00696: รถเข็นล้อกลางเบาะกว้าง (Medium size wheelchair) 00696: รถเข็นล้อกลางเบาะกว้าง (Medium size wheelchair) 6,800 5,600 บาท